โรคเข่าเสื่อม
การดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค

โรคเข่าเสื่อม อันตรายที่ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องของวัยชราเท่านั้นวัยหนุ่มก็เป็นได้

โรคเข่าเสื่อม หรือข้อเข่าอวัยยวะที่มีความสำคญมากที่สุดส่วนหนึ่งของร่างกาย ข้อเข่าทำหน้าที่คอยเป็นอะไหล่เชื่อมต่อ ระหว่างส่วนต้นขา กับขา หรือหน้าแข้งโดยมีหัวเข่าเป็นส่วนเชื่อม ภายในหัวเข่าประกอบไปด้วยเส้นเอ็นต่าง ๆ และลูกสบ้า หรือหัวเข่านั่นเอง เราลองไปทำความรู้จักกับอาการข้อเข่าเสื่อม อาการผิดปกติที่ส่งผลร้ายแรงที่ต้องหาทางออกมามากกว่าหาข้ออ้างเรื่องความชรา

โรคเข่าเสื่อม

สาเหตุของอาการ โรคเข่าเสื่อม เกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นจริงหรือไม่

ต้นเหตุของอาการข้อเข่าเสื่อม

1.น้ำหนักตัว – อีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระบบข้อต่อของล่างกาย โดยเฉพาะส่วนล่าง หัวเข่า และข้อเท้า ดังนั้นน้ำหนักตัวยิ่งเยอะ หัวเข่าก็จะรับน้ำหนัก ภาวะอ้วน เยอะเช่นกัน

2.พฤติกรรม – หัวข้อถือว่าเป็นอวัยวะที่ทำงานอยู่ตลอดเวลา เมื่อใดที่มนุษย์เคลื่อนที่ ดังนั้นพฤติกรรมการเข่าเช่น ทำกิจกรรมบางชนิดที่ส่งผลต่อหัวเข่า หรือได้รับการกระแทกรุนแรง เช่นอุบัติเหตุ

3.โรคไขไข้อ จากสาเหตุ รูมาตอยด์ หรือเกาท์ โรคอันตรายที่ทำลายกระดูก ซึ่งเป็นส่วนสำคัญค่อยลดการเสียดทานระหว่างลูกสะบ้า เมื่อกระดูกอ่อนบางลงอาการปวดติดขัดบริเวณหัวเข่าก็จะยิ่งรุนแรง

4.อายุ – ยิ่งอายุเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะบุคคลที่อายุ 50 ปี ขึ้นไป ร่างกายจะค่อนข้างฟื้นตัวช้า ไขข้อบริเวณหัวเข่าก็จะยิ่งเสื่อมลงไปเรื่อย ๆ เนื่องจากแคลเซียมจะลดลงเมื่ออายุยิ่งเพิ่มมากขึ้น และที่สำคัญมักพบอาการข้อเข่าเสื่อมในเพศหญิงมากกว่า เพศชาย

5.พันธุกรรม เช่น เกิดมาขาผิดรูปตั้งแต่กำเนิด เป็นต้น

สาเหตุของอาการ โรคเข่าเสื่อม เกิดจากอายุที่เพิ่มมากขึ้นจริงหรือไม่

วิธีสังเกตอาการข้อเข่าเสื่อมเบื้องต้น

วิธีรักษาหรือป้องกันโรคต่าง ๆ สามารถทำได้ง่าย ๆ เข้าใจอาการของมันตั้งแต่เนิ่น ๆ โดยอาการข้อเข่าเสื่อมในระยะแรกนั้น หากเคลื่อนไหวบ่อย ๆ โดยเฉพาะหัวเข่า หากรู้สึกเสียด ๆ หัวเช่า นั่นอาจหมายถึงโรคเข่าเสื่อมระยะแรก

ระยะอันตรายข้อเข่าเสื่อมอาการปวดรุนแรงจะเริ่มทวีคูณมากขึ้นอาการปวดลามไปถึงกล้ามเนื้อและกระดูกบริเวณสะบ้าหากลองเหยียดขาดูก็จะทำได้ลำบากหรือหุบขาได้ลำบากเช่นกันรวมถึงหัวเข่าอาจบิดผิดรูปได้เช่นกัน

วิธีสังเกตอาการ -โรคเข่าเสื่อม

วิธีรักษาอาการเข่าเสื่อม

1.สำหรับในระยะแรกอาจจะรักษาง่าย ๆ ด้วยการรับประทานยาประเภทแก้ปวดแบบไม่มีสเตียรอยด์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพ ในชีวิตประจำวัน หมั่นออกกำลังกายบริหารเวรหัวเข่าในท่าที่ถูกต้อง

2.หากอาการรุน อาจจะเป็นต้องผ่าตัดเปลี่ยนหัวเข่าเทียม แต่ต้องได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์เฉพาะทางเสียก่อน ซึ่งการผ่าตัดอาจจำเป็นต้องใช้เวลาพักฟื้นค่อนข้างนานและต้องใส่ใจเป็นพิเศษ

อกจากจะมีการดูแลสุขภาพเพื่อห่างไกลโรค แอดขอแนะนำ  ufa999 ที่สามารถผ่อนคลายได้แบบสบาย ๆ