สมาธิสั้นเทียม ในวันที่ 17 เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา เป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีการเปิดการเรียนการสอนในรูปแบบปกติ นักเรียนทุกคนไปเรียนในห้องเรียนได้ หลังจากที่เรียนออนไลน์กันมานานเกือบ 2 ปีเต็ม เคล็ดลับสุขภาพ ด้วยสถานการณ์จำเป็นของโรคระบาดนั้นเอง และปัญหาที่พบ คือ อาการ สมาธิสั้นเทียมในเด็กเล็ก หรือ ภาษาอังกฤษ Pseudo-ADHD : Pseudo-Attention Deficit Hyperactivity Disorder นั้นเอง เป็นกลุ่มอาการที่เด็กจะไม่สามารถนั่งนิ่งได้นาน หรือ จดจ่อกับบางอย่างได้นาน เช่น นั่งเรียนไม่ถึง 2 นาที ขยับร่างกาย สมาธิเริ่มหลุดจุดโฟกัสไม่ใช่การเรียน เป็นต้น ซึ่งอาการของสมาธิสั้นแบบเทียม จากการวินิจฉัยของแพทย์ไม่ได้เกิดขึ้นเหมือนกับสมาธิสั้นปกติ เพราะคาดว่าจะเกิดจากสมองส่วนหน้าของบุคคลที่มีอาการเกิดความผิดปกติ หรือ ผู้ป่วยบางรายเกิดจากพันธุกรรมนั้นเอง

และด้วยความที่ สมาธิสั้นเทียมเกิดกับเด็ก แน่นอน! เป็นวัยที่กำลังซุกซน บางไม่ทราบว่ามีปัญหาด้านนี้ ข้อสังเกตง่าย ๆ เลย
- นิ่งนานไม่ได้ ต้องเล่นอะไรบ้างอย่างเสมอ เมื่อบอกให้นิ่ง กลับทำไม่ได้ บางรายหนักถึงขั้นควบคุมการหยุดนิ่งของตนเองไม่ได้เลยก็มีเช่นกัน สุขภาพของเด็ก จะดีได้ก็ต่อเมื่อหันมานิยมรับประทานผัก ต้องเริ่มจากอายุที่น้อยๆ
- สมาธิไม่จดจ่อ เมื่อให้ทำอะไรสักอย่าง จะทำได้ไม่เกิน 2-3 นาที จะเปลี่ยนไปทำอย่างอื่นทันที
- มีอารมณ์ที่แสดงออกแบบเฉียบพลัน ไม่ไตร่ตรองเลย คิดอะไรได้ หรือ พูดอะไรก็ทำไปเลย

3 วิธีดูแลอาการโรค สมาธิสั้นเทียม ในเด็กเล็ก ใหม่
โดยอาการของสมาธิสั้นแบบเทียม โดยมีคำว่า “เทียม” อาการก็จะมีระยะของมันและไม่ได้รุนแรงในทันที สามารถป้องกันและรักษาได้ โดยที่ไม่ใช้ยา ดังนี้
- ทำตารางเวลาให้เด็กอยู่กับโลกดิจิตอลน้อยลง ใช้เทคโนโลยี หรือ การดูมือถือน้อยลง ให้ทำกิจกรรมที่ลงมือทำเองจริง ๆ มากขึ้น จะทำให้เด็กไม่ต้องอยู่กับโลกของจินตนาการเกินไป
- มีกิจกรรมที่ทำร่วมกันในครอบครัว ที่สามารถเสริมทักษะและสมาธิของเด็กได้ ฝึกฝนไปเรื่อย ๆ นอกจากดูแลและป้องกันสมาธิสั้นเทียม ได้แล้ว ยังสานสัมพันธ์ในครอบครัวได้ด้วย
- เลือกเกม หรือ สื่อออนไลน์ต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับวัยของเด็ก และในการเล่นเทคโนโลยี ผู้ปกครองควรกำกับเสมอ
- ความดันโลหิตสูง ติดโควิดมีโอกาสเสี่ยงจะเป็คโรคนี้หรือไม่ ไปดูกันเลย
- คอเลสเตอรอล ข่าวแฮมเบอร์เกอร์เพิ่มปริมาณ เสี่ยงโรคหัวใจจริงหรือไม่
- ความเครียด เป็นเรื่องที่ไม่ดีต่อสุขภาพร่างกาย อย่าให้เครียดสะสม
- อาการอันตรายไม่ควรนวดเด็ดขาด เตรียมความพร้อมก่อนนวด
- ผลไม้ที่ไม่ควรปอกเปลือกก่อนรับประทาน เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน
- ความดันโลหิตสูง ติดโควิดมีโอกาสเสี่ยงจะเป็คโรคนี้หรือไม่ ไปดูกันเลย
- คอเลสเตอรอล ข่าวแฮมเบอร์เกอร์เพิ่มปริมาณ เสี่ยงโรคหัวใจจริงหรือไม่
- ความเครียด เป็นเรื่องที่ไม่ดีต่อสุขภาพร่างกาย อย่าให้เครียดสะสม
- อาการอันตรายไม่ควรนวดเด็ดขาด เตรียมความพร้อมก่อนนวด
- ผลไม้ที่ไม่ควรปอกเปลือกก่อนรับประทาน เพื่อสารอาหารที่ครบถ้วน